การใช้เหตุผลเชิงตรรกะเป็นการนำเอากฏเกณฑ์ หรือเงื่อนไขที่ครอบคลุมทุกกรณีมาใช้ในการพิจารณาปัญหา โดยสามารถอธิบายการทำงานหรือการคาดการณ์ผลลัพธ์ได้อย่างเป็นขั้นตอน มีเหตุผลรองรับในการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ
การใช้เหตุผลเชิงตรรกะเป็นการนำเอากฏเกณฑ์ หรือเงื่อนไขที่ครอบคลุมทุกกรณีมาใช้ในการพิจารณาปัญหา โดยสามารถอธิบายการทำงานหรือการคาดการณ์ผลลัพธ์ได้อย่างเป็นขั้นตอน มีเหตุผลรองรับในการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ
🟪🟦🟩 สาระการเรียนรู้
🔴 กิจกรรมชวนคิด ลูกปัดหลากสี
🔴 กิจกรรมปริศนาซูโดกุ
🔴 กิจกรรมท้าสมองประลองปัญญา
🔴 กิจกรรมเลาะเมืองพ่อเเล
🔴 กิจกรรมเหตุผลเชิงตรรกะกับการแก้ปัญหา
🔴 การใช้เหตุผลเชิงตรรกะ
🔴 การแก้ปัญหาและการอธิบายการทำงาน
คำถามหลังทำกิจกรรม
👻 นักเรียนมีวิธีการแก้ปัญหาที่โจทย์กำหนดอย่างไร
👻 การแก้ปัญหาอย่างเป็นลำดับขั้นตอนมีข้อดีอย่างไร
ขั้นที่ 2 ทำความเข้าใจปัญหา
ขั้นที่ 3 ดำเนินการศึกษาค้นคว้า
กิจกรรมที่ 3 ดำเนินการศึกษาค้นคว้า
🦉นักเรียนแต่ละกลุ่มดำเนินการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบร่วมกัน โดยมีครูผู้สอนคอยให้คำชี้แนะและอำนวยความสะดวก ศึกษาจากโปสเตอร์ความรู้และคลิปการสอน
ขั้นที่ 4 สังเคราะห์ความรู้
กิจกรรมที่ 4 "เหตุผลเชิงตรรกะกับการแก้ปัญหา"
ขั้นที่ 5 สรุปและประเมินค่าคำตอบ
กิจกรรมที่ 5 กิจกรรม "สรุปและประเมินค่าคำตอบ"
คำชี้แจง
นักเรียนแต่ละคนกลุ่ม ร่วมกันสรุปและตรวจสอบความถูกต้องในกิจกรรมที่ 4 เรื่องเหตุผลเชิงตรรกะกับการแก้ปัญหาอีกครั้ง ประเมินค่าคำตอบที่ได้ว่าสมเหตุสมผลหรือถูกต้องหรือไม่ จากนั้นสรุปเป็นองค์ความรู้และเตรียมการนำเสนอข้อความรู้ดังกล่าวในรูปแบบต่างๆ เช่น หน้าชั้นเรียน ติดป้ายความรู้หน้าชั้นเรียน นำเสนอแบบออนไลน์เป็นต้น
ครูและนักเรียนในชั้นเรียนร่วมกันสรุป ตัวอย่างประเด็นการสรุป สถานที่ท่องเที่ยวในประเทศไทยมีอยู่เยอะมากมาย ปัญหาขยะแก้ไขได้อย่างไร การแยกขยะทำได้อย่างไร ผลกระทบของปัญหาขยะต่อสิ่งแวดล้อม การแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะทำอย่างไร และมีผลดีอย่างไร เป็นต้น
ขั้นที่ 6 นำเสนอและประเมินผลงาน
กิจกรรมที่ 6 กิจกรรม "นำเสนอและประเมินผลงาน"
คำชี้แจง
ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำองค์ความรู้ที่ได้ไปนำเสนอตามวิธีการที่ได้กำหนดไว้นำเสนอเพื่อเผยแพร่ออกสู่สาธารณะ โดยนำกิจกรรมที่ 4 เรื่อง เหตุผลเชิงตรรกะกับการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน มานำวิธีการหาคำตอบโดยนำเสนอหน้าชั้นเรียน จับฉลากเลือกนำเสนออย่างน้อยกลุ่มละ 1 สถานการณ์ (จำนวนสถานการณ์ที่ให้นำเสนอครูปรับให้เท่ากับเวลาที่เหลืออยู่ )
นอกจากนี้ยังเลือกวิธีการนำเสนออื่นๆ ได้อีก เช่น ติดป้ายความรู้หน้าชั้นเรียน หรือนำเสนอแบบออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ห้องเรียนออนไลน์ เป็นต้น (สามารถปรับให้เหมาะสมได้ตามเวลาเรียนที่เหลืออยู่ )โดยมีการประเมินผลสามส่วนด้วยกันคือ
- นักเรียนประเมินตนเอง
- เพื่อนประเมิน
- ครูประเมิน
🟪 การแก้ปัญหา 🟪
.